Pages

May 24, 2008

Thai Constitutions and the lineage of of Article 7”

“Lineage of Article 7”

Article 7 was perhaps one of the most well known articles of the 1997 Constitution during the 2005-2006 rallies against Thaksin Shinawatra. It was used first to call for political reform initiated by the king and then later for a royally appointed government, which the king famously rejected in late April 2006.

In "Article of Faith" I look at how this article was inserted into the 1997 constitution, noting that it was an attempt to safeguard conservative notions of rule.


Article 7 reads:

"Whenever no provision under this Constitution is applicable to any case, it shall be decided in accordance with the constitutional practice in the democratic regime of government with the King as Head of the State" (Constitution of the Kingdom of Thailand, 1997).

The above is an official translation of Article 7, and it's how I have referred to it elsewhere, as have others. It's worth noting that a more literal translation would be:

"Whenever no provision under this Constitution is applicable to any case, it shall be decided in accordance with traditions/conventions of governmment (ประเพณีการปกครอง) in a democratic regime with the king as head of state."

The term 'constitutional practice' then should be understood in the manner of Britain's unwritten constitution.

When Article 7 was inserted into the 1997 draft constitution a veteran left politician noted that its substance was in accord with the far ranging powers contained in coup-generated constitutions. That claim was right. Its first appearance was in the 1959 constitution under Sarit. Interestingly though, the term “democratic regime with the king as head of state” appears in this context only in the 1997 constitution, the 2006 interim constitution and the pseudo-referendum constitution of 2007.

Variations on Article 7 are found in all constitutions (differently numbered) from 1959 with the exception of the 1968 constituion.

2502 1959
มาตรา ๒๐ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณี
นั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย
ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวแก่การวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคก่อนเกิดขึ้นในวงงาน
ของสภา หรือเกิดขึ้นโดยคณะรัฐมนตรีขอให้สภาวินิจฉัย ให้สภาวินิจฉัยชี้ขาด

2514 1971
มาตรา ๒๒ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งธรรมนูญการปกครองนี้บังคับแก่กรณีใด ให้
วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยในกรณีมีปัญหาเกี่ยวแก่การวินิจฉัยกรณี
ใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือเกิดขึ้นโดยคณะรัฐมนตรีขอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติวินิจฉัย ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติวินิจฉัยชี้ขาด


2519 1976
มาตรา๒๕ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณี
นั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย


2520 1977
มาตรา ๓๐ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งธรรมนูญการปกครองนี้บังคับแก่กรณีใด ให้
วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย
ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวแก่การวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงาน
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือเกิดขึ้นโดยคณะรัฐมนตรีขอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ วินิจฉัยให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติวินิจฉัยชี้ขาด

2534 1991
มาตรา ๓๐ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งธรรมนูญการปกครองนี้บังคับแก่กรณีใด ให้
วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย
ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงาน
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือเกิดขึ้นโดยคณะรัฐมนตรีขอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติวินิจฉัย ให้
สภานิติบัญญัติแห่งชาติวินิจฉัยชี้ขาด

2540 1997

มาตรา ๗ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัย
กรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2549 2006
มาตรา ๓๘ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณี
นั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข
ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวแก่การวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงานของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือเมื่อมีกรณีที่คณะรัฐมนตรีขอให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติวินิจฉัยให้สภานิติ
บัญญัติแห่งชาติวินิจฉัยชี้ขาด


2550 2007
มาตรา ๗ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
{this post was edited on 2/12/2010 to correct an error)